Motor Control by PLC Mitsubishi 3 รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ กรกฎาคม 11, 2556 Rising Pulse / Falling Pulse : ONE Button Start/Stop Timer : MASTER CONTROL : MC Master Control with Speed Motor Control : รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ความคิดเห็น
บทที่ 1 พื้นฐาน PLC สิงหาคม 28, 2556 1.1 นิยามของโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรล โปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรล มีอีกชื่อหนึ่งว่า โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรเลอร์ หรือ PLC ก็คืออุปกรณ์ประเภทโซลิดสเตท ซึ่งเป็นตระกูลหนึ่งของคอมพิวเตอร์ โดยการนำวงจรรวม ( Integrated Circuit :IC ) มาประยุกต์ใช้เป็นอุปกรณ์ควบคุมแทนที่อุปกรณ์จำพวกรีเลย์ หรือพวกแมกเนติกคอนแทรกเตอร์ PLC มีชุดคำสั่งต่างๆเช่น คำสั่งเกี่ยวกับระบบซีเควนซ์ คำสั่งการหน่วงเวลา คำสั่งการนับ คำสั่งทางคณิตศาสตร์ คำสั่งการจัดการข้อมูล รวมถึงคำสั่งที่ใช้ในระบบสื่อสารต่างๆ เพื่อใช้ในการควบคุมทางอุตสาหกรรมและกระบวนการผลิต ไดอะแกรมแสดงการประยุกต์ใช้งานของระบบ PLC ถึงแม้ว่าในปัจจุบัน PLC นั้นจะมีหลายนิยาม แต่จากคำนิยามของ "โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์" ตามมาตรฐานของ IEC 1131 , PART 1 "ระบบปฏิบัติการทางด้านดิจิตอลออกแบบมาให้ใช้งานในอุตสาหกรรม ซึ่งใช้หน่วยความจำที่สามารถโปรแกรมได้ในการเก็บคำสั่งที่ผู้ใช้กำหนดขึ้น ( User Program) เพื่อเป็นเครื่องมือในการกำหนดฟังก์ชั่นหรือเงื่อนไขในการทำงานเช่น การทำงานแบบ อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 9 คำสั่งของ STEP 7 ตุลาคม 11, 2556 เขียนและเรียบเรียงโดย อ.นัครินทร์ คฤหาสสุวรรณ์ คำสั่งที่ใช้ในการสร้างโปรแกรมควบคุมการทำงานของ PLC Simatic Step 7 จะแบ่งฟังก์ชั่นการทำงานเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. Basic Operation จะเป็นฟังก์ชั่นที่สามารถประมวลผล ได้ภายใน OB , FC และ FB ซึ่งลักษณะการทำงานของฟังก์ชั่นนี้จะเป็นการปฏิบัติทางลอจิกพื้นฐาน การใช้ไทม์เมอร์ การใช้เค้าท์เตอร์ และฟังก์ชั่นการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ เป็นต้น และสามารถที่จะเขียนโปรแกรมควบคุมด้วยภาษา STL,FBD และ LAD 2.Supplementary Operation จะเป็นฟังก์ชั่นการทำงานที่มีความซับซ้อนมากกว่า กลุ่มแรก 3. System Operations จะเป็นฟังก์ชั่นการทำงานที่เข้าถึงระบบปฏิบัติการของ PLC โดยตรง ซึ่งผู้ใช้ฟังก์ชั่นการทำงานในกลุ่มนี้ ควรจะมีความรู้ และประสบการณ์ เกี่ยวกับ PLC เป็นอย่างดี 9.1 กลุ่มคำสั่ง Bit Logic ขั้นพื้นฐาน 1. Normally Open Contact (---| |---) Parameter Data Type Memory Area Description <Address> BOOL I, Q, M, L, D, T, C Checked bit ลักษณะการทำงาน วงจรนี้จะมีค่า RLO (Result Logic Operatio อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 7 พื้นฐานในการเขียนโปรแกรม กันยายน 17, 2556 เขียนและเรียบเรียงโดย อ.นัครินทร์ คฤหาสสุวรรณ์ 7.1 ขั้นตอนในการสร้างโปรแกรมควบคุมการทำงาน โปรแกรมควบคุมการทำงานเป็นส่วนที่สำคัญยิ่งในระบบควบคุมอัตโนมัติ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ต้องออกแบบให้เป็นระบบ มีโครงสร้างของโปรแกรมที่ดี ทำความเข้าใจได้ง่าย และมีเอกสารอ้างอิงตลอดเวลา ซี่งจะทำให้ระบบควบคุมอัตโนมัติ มีประสิทธิภาพในการทำงานสูงที่สุด ไม่มีความผิดพลาดในการทำงาน แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นภายหลังได้อย่างรวดเร็ว และเสียค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาน้อย ขั้นตอนในการสร้างโปรแกรมควบคุมการทำงาน ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆที่สำคัญ 5 ขั้นตอนดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 Specification เป็นขั้นตอนในการรวบรวมข้อมูล รายละเอียดและข้อกำหนดต่างๆของงานที่ต้องการจะควบคุม โดยเฉพาะรายละเอียดเกี่ยวกับหน้าที่ และเงื่อนไขในการทำงานต่างๆของระบบควบคุม ซึ่งในขั้นตอนนี้เราจะได้ผลลัพธ์ออกมาดังนี้ 1.รายละเอียดต่างๆของงานที่ควบคุม 2.โครงสร้างของเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่างๆ 3.โครงสร้างของระบบควบคุมและกระบวนการผลิต ขั้นตอนที่ 2 Design เป็นขั้นตอนที่นำข้อมูลและรายละเอียด และเงื่อนไขในการทำงานต่างๆมาจัดการให้อยู่ในรูป อ่านเพิ่มเติม
ความคิดเห็น